วันพุธที่ 12 ธันวาคม พ.ศ. 2555

วันอังคารที่ 11 ธันวาคม พ.ศ. 2555

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 17

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 16

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 15

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 14

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 13

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 12

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 11

วันจันทร์ที่ 10 ธันวาคม พ.ศ. 2555

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 10

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 9

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 8

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 7

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 6

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 5

วันเสาร์ที่ 8 ธันวาคม พ.ศ. 2555

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 4

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 3

หลวงปู่สาวกโลกอุดรตอบปัญหาธรรม 2

วันอังคารที่ 13 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

เตสัง วูปะ สะโม สุโข

ปราวณาตัวถึงพระธรรมคำสอน

เทศนาธรรมเรื่อง จักษุ ๕

เสียงธรรม 2 หลวงปู่สาวกโลกอุดร

วันศุกร์ที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2555

นางกุณฑลเกสี ๑

นางกุณฑลเกสี ๒

นางปฏาจารา ๑

นางปฏาจารา ๒

พระโสเรยยะ ๑

พระโสเรยยะ ๒

โสกะสามเณร ๑

โสกะสามเณร ๒

พระสารีบุตร

วันอาทิตย์ที่ 28 ตุลาคม พ.ศ. 2555

พระมหาโมคคัลลานะ

พระโปฐิละ

วิสัชนาปัญหาพระโมฆราช

พระนาฬะกะ

พระสุภัททะ

นางปฐาจารา 1

นางปฐาจารา 2

วันพฤหัสบดีที่ 25 ตุลาคม พ.ศ. 2555

อัตตา อนัตตา(พระนางเขมา)

พระนางรูปนันทา 2

นางสาวสิริมา 2

สังกิจจะสามเณร 2

นางสาวสิริมา 1

อุปกาชีวก 2

วันพุธที่ 24 ตุลาคม พ.ศ. 2555

พระอนุรุทธะ 2

พระโลสะกะ 2

พระอานนท์ 2

พระสิวลี 3

พระโมฆราช 2

โฆษะกะเศรษฐี

พระมหากัสสปะเถระเจ้า

พระจิตตะหัตถะ

พระนางปชาบดีโคตมี

องคุลีมาล 3

พระนางรูปนันทา

การบรรลุธรรมของพระอนุรุทธะ

การบรรลุธรรมของพระอานนท์

พระนันทะ

วันอังคารที่ 23 ตุลาคม พ.ศ. 2555

พระโลสะกะ 2

พระราธะเถระเจ้า

พระสุภัททะ 1

พระยะสะ-พระพาหิยะ

วันจันทร์ที่ 22 ตุลาคม พ.ศ. 2555

อุปกาชีวก

มาละกะพรานไพร

พระมหากาล

พระราธะ

พระนางเขมา

พระโมฆราช

โฆษิตมานพ

พระสิวลี 2

พระรัฐบาล

พระรักขิตตะ

พระมหากัสสะปะ

วันพฤหัสบดีที่ 18 ตุลาคม พ.ศ. 2555

การบรรลุธรรมของพระจักขุบาล

สังกิจจะสามเณร ๗ ขวบ

การบรรลุธรรมของพระสาคะตะ

การบรรลุธรรมของพระกัปปินะ

การแต่งตั้งพระอัครสาวก

วันจันทร์ที่ 24 กันยายน พ.ศ. 2555

การพิจารณาขันธ์ ๕

ขันธ์ ๕ รูปนาม-ธาตุ ๔

ขันธ์ ๕

ปฏิบัติธรรมดั่งแม่ไก่ฟักไข่

กามคุณทั้งห้ามีใจเป็นที่หก

วันจันทร์ที่ 20 สิงหาคม พ.ศ. 2555

ปกิณกะธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 9

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 8

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 7

วันศุกร์ที่ 17 สิงหาคม พ.ศ. 2555

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 4

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 3

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 2

โอวาทธรรม หลวงปู่สาวกโลกอุดร 1

วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

กฏแห่งเวรกรรม 4

กฏแห่งเวรกรรม 3

กฏแห่งกรรม 2

กฏแห่งกรรม 1

วันอังคารที่ 24 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

อย่าไปแก้อารมณ์ให้คนอื่น

พระอรหันต์ไม่กลับมาเกิดอีก

การเป็นอยู่ของปุถุชนกับพระอรหันต์

ไม่ทำทานถึงนิพพานไม่ได้

วันจันทร์ที่ 23 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ปัญญาขอนไม้

คนเราเกิดมาเพื่ออะไร




Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company

จงเตือนตนด้วยตนเอง

เป่าปี่ให้ควายฟัง

ผ้าธงชัยดับไฟนรก

ผู้ไม่อยู่ในโอวาท

เหตุทำให้เกิดมีพระอริยะบุคคล

วันอาทิตย์ที่ 22 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ลูกตุ้มปรอทดำ-4

ลูกตุ้มปรอทดำ3

ลูกตุ้มปรอทดำ2

กระดูกเป็นแก้ว

จิตเดิม จิตแท้ กบฏในพระพุทธศาสนา

กายนิพพาน (สัมมา อรหัง)

วันเสาร์ที่ 21 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

หลงนิมิตลูกแก้ว

ลิงบักโกรกนาโถ

ธุดงค์แดนอีก้อ

คนตะครุบเงา

ตาบอดคลำช้าง

ชฏิล 3 พี่น้อง



ครั้นพระพุทธเจ้า ทรงส่งพระสาวกเหล่าภัททวัคคีย์ ไปประกาศพระศาสนาแล้ว ก็เสด็จตรงไปยังอุรุเวลาเสนานิคม ซึ่งตั้งอยู่ในเขตกรุงราชคฤห์ ซึ่งเป็นที่อยู่ของอุรุเวลกัสสปะ อาจารย์ใหญ่ของชฎิล 500 คน

กรุงราชคฤห์นั้น เป็นเมืองหลวงแห่งแคว้นมคธ ซึ่งเป็นมหาประเทศ พระเจ้าพิมพิสารมหาราช เป็นพระมหากษัตริย์ปกครองโดยสิทธิขาด เป็นเมืองที่คับคั่งด้วยผู้คน เจริญวิทยาความรู้ ตลอดการค้าขาย เป็นที่รวมอยู่แห่งบรรดาคณาจารย์ เจ้าลัทธิมากมายในสมัยนั้น

ในบรรดาคณาจารย์ใหญ่ ๆ นั้น ท่านอุรุเวลกัสสปะ เป็นคณาจารย์ใหญ่ผู้หนึ่ง ซึ่งเป็นที่เคารพนับถือของคนเป็นอันมาก ท่านอุรุเวลกัสสปะ เป็นนักบวชจำพวกชฎิล ท่านมีพี่น้องด้วยกัน 3 คน ออกบวชจากตระกูลกัสสปะโคตร

ท่านอุรุเวลกัสสปะ เป็นพี่ชายใหญ่ มีชฎิล 500 คนเป็นบริวาร ตั้งอาศรมสถานที่พนาสณฑ์ ตำบลอุรุเวลา ต้นแม่น้ำเนรัญชรา ตำบลหนึ่ง จึงได้นามว่า อุรุเวลกัสสปะ น้องคนกลาง มีชฎิลบริวาร 300 คน ตั้งอาศรมอยู่ที่ริมฝั่งแม่น้ำเนรัญชรา ถัดเข้าไปอีกตำบลหนึ่ง จึงได้นามว่า นทีกัสสปะ ส่วนน้องคนเล็ก มีชฎิลบริวาร 200 ตั้งอาศรมอยู่คุ้งใต้แม่น้ำเนรัญชรานั้น ตำบลหนึ่ง ซึ่งมีนามว่า ตำบลคยาสีสะประเทศ จึงได้นามว่า คยากัสสปะ ชฎิลคณะนี้ทั้งหมด มีทิฏฐิหนักในการบูชาไฟ

พระพุทธเจ้าเสด็จไปถึงอาศรมของ ท่านอุรุเวลกัสสปะ ในเวลาเย็น จึงเสด็จตรงไปพบอุรุเวลกัสสปะทันที ทรงรับสั่งขอพักแรมด้วยสักหนึ่งคืน อุรุเวลสสปะรังเกียจทำอิดเอื้อน ไม่พอใจให้พัก เพราะเห็นพระพุทธเจ้า เป็นนักบวชต่างจากลัทธิของตน พูดบ่ายเบี่ยงว่า ไม่มีที่ให้พัก

ครั้นพระพุทธเจ้าตรัสขอพักที่โรงไฟ ซึ่งเป็นสถานที่บูชาไฟของชฎิล ด้วยเป็นที่ว่าง ไม่มีชฏิลอยู่อาศัย ทั้งเป็นที่อยู่ของนาคราชดุร้ายด้วย อุรุเวลกัสสปะได้ทูล ว่า พระองค์อย่าพอใจพักที่โรงไฟเลย เพราะเป็นที่อยู่ของพระยานาค ที่มีพิษร้ายแรง ทั้งดุร้ายที่สุด อาศัยอยู่ จะได้รับอันตรายจากนาคราชนั้น ให้ถึงอันตรายแก่ชีวิต

เมื่อพระพุทธเจ้ารับสั่งยืนยันว่า นาคราชนั้นจะไม่เบียดเบียนพระองค์เลย ถ้าท่านอุรุเวลกัสสปะ อนุญาตให้เข้าอยู่ ท่านอุรุเวลกัสสปะ จึงได้อนุญาตให้เข้าไปพักแรม

หลังจากนั้น พระพุทธเจ้า ก็เสด็จเข้าไปยังโรงไฟนั้น ประทับนั่งดำรงพระสติ ต่อพระกัมมัฏฐานภาวนา ฝ่ายพระยานาค เห็นพระพุทธเจ้า เสด็จเข้ามาประทับในที่นั้น ก็มีจิตคิดขึ้งเคียด จึงพ่นพิษตลบไป

ในลำดับนั้น พระพุทธเจ้าก็ทรงดำริว่า ควรที่เราจะแสดงอิทธานุภาพ ให้เป็นควันไปสัมผัสเนื้อหนังมังสา และเอ็นกระดูกแห่งพระยานาคนี้ ระงับเดชพระยานาคให้เหือดหาย แล้วทรงแสดงอภินิหารดังพระดำรินั้น

พระยานาคไม่อาจอดกลั้นความโกรธได้ ก็บังหวนพ่นพิษเป็นเพลิงพลุ่งโพลงขึ้น พระพุทธเจ้าก็สำแดงเตโชกสิณ บันดาลเปลวเพลิงรุ่งโรจน์โชติช่วง และเพลิงทั้ง 2 ฝ่ายก็บังเกิดขึ้นแสง แดงสว่าง ดุจเผาผลาญซึ่งโรงไฟให้เป็นเถ้าธุลี

ส่วนชฎิลทั้งหลาย ก็แวดล้อมรอบโรงไฟนั้น ต่างเจรจากันว่า พระสมณะนี้ มีสิริรูปงามยิ่งนัก เสียดายที่ท่านมาวอดวายเสีย ด้วยพิษแห่งพระยานาคในที่นั้น

ครั้นรุ่งเช้า พระพุทธเจ้า ก็กำจัดฤทธิ์เดชพระยานาคให้หมดไป บันดาลให้พระยานาคนั้น ขดกายลงในบาตร แล้วทรงสำแดงแก่อุรุเวลกัสสปะ ตรัสบอกว่า พระยานาคนี้สิ้นฤทธิ์เดชแล้ว

อุรุเวลกัสสปะเห็นดังนั้น ก็ดำริว่า พระสมณะนี้มี อานุภาพมาก ทำให้พระยานาคพ่ายแพ้ไปได้ แต่ว่าก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเราเลย มีจิตเลื่อมใสในอิทธิปาฏิหาริย์ จึงกล่าวว่า ข้าแต่สมณะ นิมนต์พระผู้เป็นเจ้าอยู่ ณ อาศรมของข้าพเจ้าเถิด ข้าพเจ้าจะถวายภัตตาหาร ให้ฉันทุกวันเป็นนิตย์

พระพุทธเจ้า ก็เสด็จประทับยังพนาสณฑ์ตำบลหนึ่ง ใกล้อาศรมแห่งอุรุเวลกัสสปะนั้น ครั้นตกกลางคืน ท้าวจาตุมหาราชทั้ง 4 ก็เสด็จลงมาหาพระพุทธเจ้า ถวายอภิวาท และประดิษฐานยืนอยู่ใน 4 ทิศ มีแสงสว่างดุจกองเพลิงก่อไว้ทั้ง 4 ทิศ

ครั้นเวลาเช้า อุรุเวลกัสสปะ จึงเข้าไปหาพระพุทธเจ้าทูลว่า นิมนต์พระสมณะ ไปฉันภัตตาหารเถิด ข้าพเจ้าตกแต่งไว้ถวายเสร็จแล้ว แต่เมื่อคืนนี้ เห็นมีแสงสว่างไปทั่ว ใครมาสู่สำนักพระองค์ จึงปรากฏรุ่งเรืองในทิศทั้ง 4

พระพุทธเจ้าจึงตรัส บอกว่า ดูก่อน กัสสปะ นั้นคือ ท้าวจาตุมหาราชทั้ง 4 ลงมาสู่สำนักตถาคตเพื่อฟังธรรม

อุรุเวลกัสสปะได้สดับดังนั้น ก็ดำริว่า พระมหาสมณะองค์นี้ มีอานุภาพมาก ท้าวจาตุมหาราชยังลงมาสู่สำนัก ถึงกระนั้น ก็ยังมิได้เป็นพระอรหันต์เหมือนเรา

พระพุทธเจ้า เสด็จมากระทำภัตตกิจ เสวยภัตตาหารเสร็จแล้ว ก็เสด็จกลับมาสู่ที่พักในตอนกลางวัน

ตกกลางคืน ท้าวสหัสสนัย ก็ลงมาสู่สำนักพระพุทธเจ้า ถวายนมัสการ แล้วยืนอยู่ที่ควรข้างหนึ่ง เปล่งรัศมีสว่าง ดุจกองไฟใหญ่ สว่างยิ่งกว่าคืนก่อน

ครั้นเพลารุ่งเช้า อุรุเวลกัสสปะ ก็ไปหาพระพุทธเจ้า ทูลอาราธนาให้ฉันภัตตาหาร แล้วทูลถามว่า เมื่อคืนนี้ มีผู้ใดมาสู่สำนักพระองค์ จึงมีรัศมีสว่างยิ่งกว่าราตรีก่อน ตรัสบอกว่า ดูก่อน กัสสปะ เมื่อคืนนี้ท้าวสักกะ ลงมาสู่สำนักตถาคต เพื่อจะฟังธรรม

อุรุเวลกัสสปะได้ฟังดังนั้น ก็คิดเห็นเป็นอัศจรรย์ เหมือนครั้งก่อน

พระพุทธเจ้าเสด็จไปเสวยภัตตาหาร แล้วกลับมาอยู่ที่พักในเวลากลางวัน

ตกกลางคืน ท้าวสหัมบดีพรหม ก็ส่งมาสู่สำนักพระบรมศาสดา เปล่งแสงสว่างยิ่งขึ้นไปกว่า 2 คืนก่อนอีก

ครั้นรุ่งเช้าอุรุเวลกัสสปะ ก็ไปทูลอาราธนาฉันภัตตาหาร แล้วทูลถามอีก ตรัสตอบว่า คืนนี้ท้าวสหัมบดีพรหม ลงมาสู่สำนักตถาคต อุรุเวลกัสสปะ ก็ดำริดุจนัยก่อน พระพุทธเจ้าเสด็จไปเสวยภัตตาหาร แล้วก็กลับมาสู่สำนัก

ในวันรุ่งขึ้น มหายัญญลาภ บังเกิดขึ้นแก่อุรุเวลกัสสปะ คือชนชาวอังครัฐทั้งหลาย จะนำเอาข้าวปลาอาหารเป็นอันมาก มาถวายแก่อุรุเวลกัสสปะ จึงดำริแต่ในราตรีว่า รุ่งขึ้นพรุ่งนี้ มหาชนจะนำเอาข้าวปลาอาหารมาให้เรา หากพระสมณะรูปนี้ สำแดงอิทธิปาฏิหาริย์ ลาภสักการะ ก็จะบังเกิดแก่ท่านเป็นอันมาก เราจักเสื่อมสูญจากการสักการะบูชา ทำอย่างไร วันพรุ่งนี้ท่านจะไม่มาที่นี้ได้

พระพุทธเจ้าทรงทราบความคิดของ อุรุเวลกัสสปะ ด้วยเจโตปริยญาณ ครั้นรุ่งเช้า พระพุทธเจ้าก็เสด็จไปสู่อุตตรกุรุทวีป ทรงบิณฑบาตรได้ภัตตาหารแล้ว ก็เสด็จมากระทำภัตตกิจยังฝั่งอโนดาต แล้วทรงไปพักในที่นั้น

ตกเย็น พระพุทธเจ้าจึงเสด็จมาที่พักเดิม ครั้นรุ่งเช้า อุรุเวลกัสสปะ ไปทูลอาราธนาเสวยภัตตาหาร และทูลถามว่า

“เมื่อวานนี้ ท่านไปแสวงหาอาหารในที่ใด ไฉนไม่ไปสู่สำนักข้าพเจ้า ข้าพเจ้าระลึกถึงพระองค์อยู่”

พระพุทธเจ้าจึงตรัสถึง ความวิตกของอุรุเวลกัสสปะ นั้นให้แจ้งทุกประการ อุรุเวลกัสสปะได้ฟัง ตกใจคิดว่า พระมหาสมณะนี้ มีอานุภาพมากแท้ ท่านล่วงรู้จิตเราได้ขนาดนี้ แต่ยังไงเสีย ท่านก็ยังไม่เป็น พระอรหันต์ เหมือนเราอยู่ดี

ในกาลนั้น ผ้าบังสุกุลจีวรบังเกิดแก่พระพุทธเจ้า พระองค์เสด็จไปซักผ้าบังสุกุล ซึ่งห่อศพนางปุณณทาสี ที่ทอดทิ้งอยู่ในอามกสุสานะป่าช้าผีดิบ เมื่อพระพุทธเจ้า เป็นกษัตริย์ชาติตระกูลสูง ทรงตรัสรู้อนุตตรสัมโพธิญาณ เป็นพระสัมพุทธเจ้า เป็นศาสดาของเทวดาและมนุษย์ เป็นโมลีของโลกเห็นปานนี้แล้ว ยังทรงลดพระองค์ลงมาซักผ้าขาว ที่ห่อศพนางปุณณทาสี ที่ทอดทิ้งอยู่ในป่าช้า เพื่อทรงใช้เป็นผ้าจีวรทรงเช่นนี้ เป็นกรณีที่สุดวิสัย ของเทวดาและมนุษย์ ซึ่งอยู่ในสถานะเช่นนั้นจะทำได้ ก็เกิดเหตุแผ่นดินไหวขึ้น เป็นเหตุอัศจรรย์ถึง 3 ครั้ง

ตลอดระยะทาง พระพุทธเจ้าทรงดำริว่า เราจะซักผ้าบังสุกุลนี้ในที่ใด? ขณะนั้น ท้าวสหัสสนัย ทรงทราบในพุทธปริวิตก จึงเสด็จลงมาขุดสระโบกขรณี ด้วยพระหัตถ์ในพื้นศิลา สำเร็จด้วยฤทธิ์ให้เต็มไปด้วยน้ำ แล้วกราบทูลพระพุทธเจ้า ให้ทรงซักผ้าบังสุกุลในที่นั้น

ขณะที่พระพุทธเจ้าทรงซัก ก็ทรงดำริว่า จะทรงขยำในที่ใดดี ท้าวสหัสสนัย ก็นำเอาแผ่นศิลาใหญ่ เข้าไปถวาย ทรงขยำด้วยพระหัตถ์ จนหายกลิ่น 4 อสุภะ แล้วก็ทรงพระดำริว่า จะตากผ้าบังสุกุลจีวรในที่ใดดี ลำดับนั้นรุกขเทวดา ซึ่งสิงสถิตอยู่ ณ ไม้กุ่มบก ก็น้อมกิ่งไม้นั้นลงมา ถวายให้ทรงห้อยตากจีวร ครั้นทรงตากแล้ว พระพุทธเจ้าก็ทรงดำริว่า จะแผ่พับผ้าในที่ใด ท้าวสหัสสนัยก็ยกแผ่นศิลาอันใหญ่ มาทูลถวายให้แผ่พับผ้ามหาบังสุกุลนั้น

เช้าวันต่อมา อุรุเวลกัสสปะไปเฝ้าพระพุทธเจ้า เห็นสระและแผ่นศิลาทั้งสอง ซึ่งมิได้มีในที่นั้นมาก่อน และกิ่งไม้กุ่มน้อมลงมาเช่นนั้น จึงทูลถามพระบรมศาสดา ตรัสบอกความทั้งปวงให้ทราบ เมื่ออุรุเวลกัสสปะได้ฟัง ก็สะดุ้งตกใจคิดว่า พระสมณะองค์นี้ มีเดชานุภาพมากยิ่งนัก แม้แต่ท้าวสหัสสนัย ยังลงมาทำการรับใช้ แต่ก็ไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเรา

พระพุทธเจ้า เสด็จไปเสวยภัตตาหารแล้ว ก็กลับมาพักที่อาศัย ครั้นรุ่งขึ้นในวันต่อมา อุรุเวลกัสสปะ ไปทูลนิมนต์ฉันภัตตกิจ จึงตรัสว่า

“ท่านจงไปก่อนเถิด เราจะตามไปภายหลัง”

เมื่อส่งอุรุเวลกัสสปะไปแล้ว จึงเหาะไปนำเอาผลหว้าใหญ่ประจำทวีป ในป่าหิมพานต์มาแล้ว ก็เสด็จมาถึงโรงไฟ ก่อนอุรุเวลกัสสปะ ครั้นอุรุเวลกัสสปะมาถึง จึงทูลถามว่า พระองค์มาทางใด จึงถึงก่อน พระศาสดาจึงตรัสบอกแล้ว ตรัสว่า

“ดูก่อน กัสสปะ ผลหว้าประจำทวีปนี้ มีวรรณสันฐานสุคันธรสเอมโอช ถ้าท่านปรารถนาจะบริโภคก็เชิญตามปรารถนา”

อุรุเวลกัสสปะ ก็คิดเห็นเป็นอัศจรรย์เหมือนครั้งก่อน ครั้นพระพุทธเจ้า ทรงทำภัตตกิจเสร็จแล้ว ก็เสด็จกลับไปยังที่พัก

ในวันต่อมา พระพุทธเจ้า ได้ทรงทำอิทธิปาฏิหาริย์เช่นนั้น อีก 4 ครั้ง คือ ทรงส่งอุรุเวลกัสสปะมาก่อนแล้ว เสด็จเหาะไปเก็บผลมะม่วงครั้งหนึ่ง เก็บผลมะขามป้อมครั้งหนึ่ง เก็บผลส้มในป่าหิมพานต์ครั้งหนึ่ง เสด็จขึ้นไปดาวดึงส์เทวโลก นำเอาผลไม้ปาริฉัตตกครั้งหนึ่ง เสด็จมาถึงก่อน คอยท่าอุรุเวลกัสสปะอยู่ที่โรงไฟ ให้ชฎิลเห็นเป็นอัศจรรย์ใจทุกครั้ง

วันหนึ่ง ชฎิลทั้งหลายปรารถนาจะก่อไฟ ก็มิอาจผ่าฟืนออกได้ จึงคิดว่าที่เป็นแบบนี้ เพราะฤทธิ์พระมหาสมณะทำโดยแท้ พระพุทธเจ้าจึงตรัสถาม ครั้นทราบความแล้วก็ตรัสว่า ท่านจงผ่าฟืนตามปรารถนาเถิด ในทันใดนั้น ชฎิลก็ผ่าฟืนออกได้ตามประสงค์

วันหนึ่ง ชฎิลทั้ง 500 คน ปรารถนาจะบูชาไฟ ก่อไฟก็ไม่ติด จึงคิดปริวิตกเหมือนหนหลัง พระพุทธเจ้าตรัสถามทราบความแล้ว ก็ทรงอนุญาตให้ก่อไฟได้ ไฟก็ติดขึ้นทั้ง 500 กอง พร้อมกันในขณะเดียว ชฎิลทั้งหลายบูชาไฟสำเร็จแล้ว จะดับไฟ ๆ ก็ไม่ดับ จึงดำริดุจหนหลัง พระพุทธเจ้าตรัสถามทราบความแล้ว ก็ทรงอนุญาตให้ดับไฟ ๆ ก็ดับพร้อมกันถึง 500 กอง

วันหนึ่ง ในฤดูหนาว ชฎิลทั้งหลาย ลงอาบน้ำดำผุดขึ้นลง ในแม่น้ำเนรัญชรา พระพุทธเจ้า ผู้ทรงพระกรุณาแก่ชฎิล ทรงดำริว่า เมื่อชฎิลขึ้นจากน้ำแล้วจะหนาวมาก จึงทรงนิรมิตเชิงกราณประมาณ 500 อัน มีไฟติดทั้งสิ้นไว้ในที่นั้น ครั้นชฎิลทั้งหลายขึ้นจากน้ำหนาวจัดก็ชวนกันเข้าผิงไฟที่เชิงกราณ แล้วก็คิดสันนิษฐานว่า พระมหาสมณะ คงทรงเนรมิตไว้ให้เป็นแน่ น่าอัศจรรย์ยิ่งนัก

วันหนึ่ง มหาเมฆตั้งขึ้นมิใช่ฤดูกาล บันดาล ให้ฝนตกลงมาเป็นอันมาก กระแสน้ำเป็นห้วงใหญ่ ไหลท่วมไปในที่ทั้งปวงโดยรอบบริเวณนั้น ธรรมดาว่า พระพุทธเจ้าเสด็จสถิตอยู่ ณ ประเทศใด แม้ที่นั้นน้ำท่วม ก็ทรงอธิษฐาน มิให้น้ำท่วมเข้าไปในที่นั้นได้ และในครั้งนั้นก็ทรงดำริว่า ตถาคตจะทำให้น้ำนั้นเป็นขอบสูงขึ้นไป ในทิศโดยรอบที่หว่างกลางนั้น จะมีพื้นภูมิภาคจะราบเรียบขึ้นปกติ ตถาคตจะจงกรมอยู่ในที่นั้น แล้วก็ทรงอธิษฐานบันดาล ให้เป็นดังพุทธดำรินั้น

ฝ่ายอุรุเวลกัสสปะนั้น คิดว่าพระมหาสมณะนี้ น้ำจะท่วมเธอหรือไม่ท่วมประการใด หรือจะหลีกไปสู่ที่อื่น จึงลงเรือพร้อมกับชฎิลทั้งหลาย รีบพายไปดูโดยด่วน ถึงที่ที่พระพุทธเจ้าทรงสถิต ก็เห็นน้ำสูงขึ้นเป็นกำแพงล้อมอยู่โดยรอบ แลเห็นพระพุทธเจ้าเสด็จจงกรมอยู่ในพื้นภูมิภาคปราศจากน้ำ จึงส่งเสียงร้องเรียก

พระพุทธเจ้าขานรับว่า “กัสสปะ ตถาคตอยู่ที่นี่” แล้วก็เสด็จเหาะขึ้นไปบนอากาศ เลื่อนลอยลงสู่เรือของอุรุเวลกัสสปะ ทำให้อุรุเวลกัสสปะคิดว่า พระมหาสมณะนี้ มีอิทธิฤทธิเป็นอันมาก แต่ถึงมีอานุภาพมากอย่างนั้น ก็ยังไม่เป็นพระอรหันต์เหมือนเรา

แท้จริง ตั้งแต่พระพุทธเจ้า เสด็จจากป่าอิสิปตนมฤคทายวัน ในวันแรมค่ำหนึ่ง เดือน 12 มาประทับอยู่ที่อุรุเวลาเสนานิคม จนตราบเท่าถึงวันเพ็ญ เดือน 2 เป็นเวลาสองเดือน ทรงแสดงอิทธิปาฏิหารย์ ทรมานอุรุเวลกัสสปะ ด้วยประการต่าง ๆ อุรุเวลกัสสปะ ก็ยังมีสันดานกระด้าง ถือตนว่า เป็นพระอรหันต์ อยู่อย่างนั้น ด้วยทิฐิอันกล้ายิ่งนัก พระพุทธเจ้าจึงทรงดำริว่า เราจะทำให้ชฏิลสลดจิตคิดสังเวชตนเอง จึงมีพระวาจาตรัสแก่ อุรุเวลกัสสปะว่า

“กัสสปะ ท่านมิได้เป็นพระอรหันต์ อรหัตทั้งทางปฏิบัติของท่าน ก็ยังห่างไกล มิใช่ทางมรรคผลอันใด ไฉนเล่า ท่านจึงถือตนว่า เป็นพระอรหันต์ เท็จต่อตัวเอง ทั้ง ๆ ท่านเองก็รู้ตัวดีว่า ตัวยังมิได้บรรลุโมกขธรรมอันใด ยังลวงคนอื่นว่าเป็นพระอรหันต์อยู่อีก กัสสปะ ถึงเวลาอันควรแล้ว ที่ท่านจะสารภาพแก่ตัวเองว่า ท่านยังมิได้เป็นพระอรหันต์ ทั้งยังมิได้ปฏิบัติธรรม เพื่อเป็นพระอรหันต์ด้วย กัสสปะ แล้วท่านจะได้เป็นพระอรหันต์ เร็ว ๆ นี้แหละ”

เมื่ออุรุเวลกัสสปะ ได้ฟังพระโอวาทก็รู้สึกตัว ละอายแก่ใจ ซบเศียรลงแทบพระยุคลบาท แล้วกราบทูลว่า

“ข้าแต่พระผู้มีพระภาคเจ้า ข้าพระองค์ขอบรรพชาอุปสมบท ในสำนักพระองค์ ขอถึงพระองค์และพระธรรม พระสงฆ์ เป็นที่พึ่ง”

พระพุทธเจ้าจึงตรัสว่า

“กัสสปะ ตัวท่านเป็นอาจารย์ยิ่งใหญ่ เป็นประธานแก่หมู่ชฎิล 500 คน ท่านจงชี้แจง ให้ชฎิลบริวารยินยอมพร้อมกันก่อน แล้วตถาคต จึงจะให้บรรพชาอุปสมบท”

อุรุเวลกัสสปะ ก็กราบถวายบังคม ลามายังอาศรม แล้วก็บอกชฎิลอันเป็นศิษย์ ซึ่งชฏิลทั้งหลาย ก็ยินยอมพร้อมกันจะบรรพชา ในสำนักพระพุทธเจ้าทั้งสิ้น แล้วชฎิลทั้งหลาย ก็ชวนกันลอยดาบสบริขาร และเครื่องตกแต่งผม ชฏา สาแหรก คาน เครื่องบูชาไฟ ทั้งน้ำเต้า หนังสือ ไม้สามง่าม ในแม่น้ำทั้งสิ้น แล้วก็พากันมาเฝ้าพระพุทธเจ้า ถวายอภิวาทแทบพระยุคลบาท ทูลขอบรรพชาอุปสทบท พระพุทธเจ้า ก็กรุณาโปรดประทานอุปสมบท ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทาเสมอกัน

ครั้งนั้น ท่านนทีกัสสปะ ผู้เป็นน้องกลาง เห็นเครื่องบริขารทั้งปวงลอยน้ำมา ก็คิดว่า สงสัยอันตรายจะมีแก่ดาบสผู้พี่ชาย จึงใช้ให้ชฎิลสองสามคน อันเป็นศิษย์ไปสืบดู รู้เหตุแล้ว นทีกัสสปะ ก็พาดาบสทั้ง 300 อันเป็นศิษย์ มาสู่สำนักของท่านอุรุเวลกัสสปะ ถามเหตุนั้น

ครั้นทราบความแล้ว นทีกัสสปะและบริวาร ก็เลื่อมใสชวนกัน ลอยเครื่องดาบสบริขาร ลงในแม่น้ำนั้น พากันเข้าถวายอัญชลีทูลขอบรรพชา พระพุทธเจ้าก็โปรดประทานอุปสมบท ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทาด้วยกันทั้งสิ้น ดุจชฎิลพวกก่อนนั้น

ฝ่ายคยากัสสปะ ผู้เป็นน้องน้อย เห็นเครื่องดาบสบริขารของพี่ชาย ลอยน้ำลงมาจำได้ ก็คิดดุจนทีกัสสปะ ผู้เป็นพี่นั้น แล้วพาดาบสทั้ง 200 อันเป็นศิษย์ไปสู่สำนักพระอุรุเวลกัสสปะ ไต่ถามทราบความแล้วเลื่อมใส ชวนกันลอยเครื่องบริขาร ลงในแม่น้ำ แล้วก็เข้าทูลขอบรรพชาต่อพระพุทธเจ้า พระพุทธเจ้า ก็โปรดประทานอุปสมบท ด้วยเอหิภิกขุอุปสัมปทาดังกล่าวแล้ว

พระพุทธเจ้า ทรงทรมานชฎิลทั้ง 3 พี่น้อง มีอุรุเวลกัสสปะ เป็นต้น กับทั้งชฎิลบริวาร 1,000 คน ให้สละเสียซึ่งทิฐิแห่งตน แล้วประทานเอหิภิกขุอุปสัมปทาทั้งสิ้น เสร็จแล้วก็ทรงพาพระภิกษุสงฆ์พวกนั้น ไปสู่คยาสีสะ ตรัสพระธรรมเทศนา อาทิตตปริยายสูตร โปรดภิกษุ 1,000 นั้น ให้บรรลุพระอรหันต์ด้วยกันทั้งสิ้น

Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company

forklift

พระองคุลิมาล-หลวงปู่สาวกโลกอุดร



องคุลิมาล หรือ พระองคุลิมาลเถระ เป็นบุคคลสำคัญในยุคต้นแห่งพุทธศาสนา โดยเฉพาะตามพุทธประวัติพุทธฝ่ายเถรวาท เดิมนั้นเป็นโจรปล้นฆ่าคน แต่ภายหลังมีศรัทธาในพุทธศาสนา ได้กลับใจบวชเป็นพระภิกษุ และบรรลุเป็นพระอรหันต์ อีกทั้งมียังบทสวดของท่านอีกด้วย ชื่อ องคุลิมาลปริตร คำว่า องคุลิมาล นั้นมาจากคำว่า องคุลิมาล แปลว่า นิ้วเป็นพวง (องคุลิ แปลว่า ข้อนิ้ว, นิ้ว มาล แปลว่า พวง - องคุลีมาร เป็นชื่อที่มักเขียนผิดบ่อย)

แต่เดิมนั้นองคุลิมาลชื่อว่า อหิงสกะ เป็นบุตรของปุโรหิตของพระเจ้าปเสนทิโกศล เมืองสาวัตถี มารดาของชื่อ มันตานี อหิงสกะได้ไปเรียนวิชาที่เมืองตักกสิลา และสามารถเรียนได้รวดเร็วอีกทั้งยังปรนนิบัติอาจารย์อย่างดี จนเป็นที่รักใคร่ของอาจารย์อย่างมาก เป็นเหตุให้ศิษย์อื่นริษยา จึงยุยงอาจารย์ว่าองคุลิมาลคิดจะทำร้าย อาจารย์จึงคิดจะกำจัดองคุลิมาลเสีย โดยบอกกองคุลิมาลว่า ถ้าจะสำเร็จวิชาต้องฆ่าคนให้ได้หนึ่งพันคนเสียก่อน องคุลิมาลจึงออกเดินทางฆ่าคน แล้วตัดนิ้วหัวแม่มือมาคล้องที่คอเพื่อให้จำได้ว่าฆ่าไปกี่คนแล้ว เหตุนี้เอง อหิงสกะจึงได้รับสมญานามว่า องคุลิมาล จนครบ 999 คน ก็มาพบพระพุทธเจ้า และได้เลื่อมใสในพระพุทธศาสนา ออกบวชเป็นพุทธสาวก

พระสีวลีเถระเจ้า

วันจันทร์ที่ 16 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

พุทธทำนายสุบินนิมิตร 16 ประการ




Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company
forklift

อวดความรู้ อวดอัตตา





Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company
forklift

ธรรมะหลังเทศน์




Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company
forklift

ทุกข์พาให้พ้นทุกข์

จงเป็นผู้ฟังหูไว้หู

ภัยของพระพุทธศาสนา









นิทานเต่าสอนปลา

วันอาทิตย์ที่ 15 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ขันธ์ห้า สัมปยุตมโนวิญญาณ



ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล


Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company

ภิกษุทานจีวรแก่สามเณร

ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล




วันเสาร์ที่ 14 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

พระอรหันต์กั้นเชือก

ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล










Search Engine Submitter
If you wish get high ranking in search engines. So you need to check our Link Building Company

ผู้ไม่เชื่อในการตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า



ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล


ศาสนาพุทธแบบเส้าหลิน



ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล

ปฏิบัติบูชาและอามิสบูชา

เส้นผมบังภูเขา-หลวงปู่สาวกโลกอุดร




ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล



วันศุกร์ที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

กรรมฐานออกลูกเป็นตัว




ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล

ของดีแต่ปางก่อน



ความมืดทั้งหลายแห่งรัตติกาล ย่อมปลีกหนีอันตระธานไปสิ้น เมื่อแสงอาทิตย์ผู้เป็นเจ้าแห่งภิภพแผดแสงครองฟ้าจ้าจำรัสใครรึ ยังจะมีใครกล้าจุดตะเกียงมาแข่งแสงอยู่ก็ให้มันรู้ไป
พุทธคำสอนอันแท้จริงปรากฏขึ้นอีกครั้ง ยังมีหรือ จะมีใครกล้านำเอาความคิด ความรู้ผิดๆ มาโต้แย้งแข่งความจริงแท้อีกได้

หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธัมมปาโล



วันพฤหัสบดีที่ 12 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ลูกตุ้มปรอทดำ-หลวงปู่สาวกโลกอุดร











                                    




















                                                                        เต่าหินพันปี






                                                        ลายมือหลวงปู่สาวกโลกอุดร




                                                             
                                                               สถานที่หลวงปู่บรรลุธรรม
















pcnforklift4

อธิบายวิปัสนาญาณ ๑๖-หลวงปู่สาวกโลกอุดร




































pcnforklift4

พระมาละกะเถรเจ้า

วันอังคารที่ 10 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ถาม-ตอบ วิธีปฏิบัติ01-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

ผู้มาบอดไปบอด

การเกิดของความคิด

แนะนำสถานที่ปฏิบัติธรรมกรรมฐาน-สำนักสงฆ์นพรัตน์วราราม

ประวัติความเป็นมาของสำนักสงฆ์นพรัตน์วราราม ตั้งอยู่หมูที่ ๓ บ้านยางบ่า ต. โคกสูง อ.เมือง จ. ชัยภูมิ เป็นสถานที่ตั้งใหม่ ทั้งพระที่มาอยู่ก็ใหม่ เป็นสถานที่ที่คุณโยมศักดิ์ขัย คุณโยมจินตนา วีรปิณ ชื้อที่ดินเฟื้ยงสร้างเป็นวัดเพื่ออุทิศเป็นอนุสรณ์ให้แก่บุตรทั้งสองผู้จากไป คือ นายนพรัตน์ วีรปิณ และ นางสาววราลักษณ์ วีรปิณ ได้ถวายสถานที่ผืนดินนี้ให้แก่สงฆ์เมื่อวันที่ ๑๒ ธ.ค. ๒๕๕๒ ขณะนี้ก็อยู่ในช่วงดำเนินการขอสร้างและขอตั้งให้เป็นวัดให้ถูกต้องตามกฎหมายบ้านเมืองต่อไป

พระมหากันติทัต กนฺติทตฺโต
Tel.0894141210
http://www.facebook.com/ttkorn























วิธีปฏิบัติธรรมกรรมฐาน-03

วันจันทร์ที่ 9 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ฌาณและอิทธิบาท

อธิบายหนังสือหยั่งลงก้นมหาสมุทร-หลวงปู่สาวกโลกอุดร
























ระเบิดปรมณูถล่มนามรูป-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

วันอาทิตย์ที่ 8 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

ผลนิโรธสมาบัติ-2

เปิดเผยสภาวะธรรม-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

ผลนิโรธสมาบัติ-1 หลวงปู่สาวกโลกอุดร

วันศุกร์ที่ 6 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

วิธีปฏิบัติธรรมกรรมฐาน 3-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

ความวิเศษสูงสุดในศาสนาพุทธ

ผลสภาวนิโรธรรม

วันจันทร์ที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

วิธีตัดภพตัดชาติ-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

ความฟุ้งซ่านคือยอดบารมี- หลวงปู่สาวกโลกอุดร

หลักการปฏิบัติธรรม 2- หลวงปู่สาวกโลกอุดร

การพิจารณาขันธ์ ๕- หลวงปู่สาวกโลกอุดร

วิธีปฏิบัติกรรมฐาน-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

วันพุธที่ 27 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ปัญญาโลกีย์กับปัญญาโลกุตตระ

อนุปุพวิหาร ๙

แก้ความเห็นผิด

วิปัสสนาญาณ ๙

วิปัสสนูกิเลส

วิสุทธิ ๗

ประวัติ นางอุบลวรรณา






วันอังคารที่ 26 มิถุนายน พ.ศ. 2555

พุทธกิจ 5 ประการ ของพระพุทธเจ้า







ประวัติ โสกะสามเณร







ประวัติ พระลูกศิษย์ของ พระอานนท์ บรรลุอรหันต์



ประวัติ นางกุณฑลเกสี



ประวัตินาง ปฐาจารา




ประวัติพระโสเรยยะ เถระเจ้า








ประวัติพระสาคะตะ เถระเจ้า

ประวัติพระอนุรุทธะ เถระเจ้า

ประวัติพระสุภัททะ เถระเจ้า

ธรรมโอวาท แทรกกฎแห่งกรรม




กฎแห่งเวรกรรม ๑







นารีผล-มิติซ้อนมิติ-โลกซ้อนโลก

























ประัวัติ บั้งไฟพญานาค

ปัญญาตัดภพตัดชาติมิได้

วันจันทร์ที่ 25 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ธรรมโอวาท1 ลป.สาวกโลกอุดร




นิทานธรรม พระอินทร์กับหนอน

สวรรค์ภูมิ นรกภูมิ - หลวงปู่สาวกโลกอุดร

สัมมา อรหัง สอนเรื่อง กายนิพพาน

วันอังคารที่ 19 มิถุนายน พ.ศ. 2555

อาณุภาพปรมาณูธาตุ-หลวงปู่สาวกโลกอุดร

ปรมณูธาตุ- หลวงปู่สาวกโลกอุดร




ปรมาณูเป็นหน่วยที่เล็กที่สุด ที่สอนกันในพระพุทธศาสนา ในพระพุทธศาสนาอธิบายด้วยการแยกจากเม็ดข้าวเปลือกให้เล็กลงๆ ไปเรื่อยๆ จนถึงปรมาณู ซึ่งปรมาณูในทางพระพุทธศาสนามีองค์ประกอบ ๒ อย่างคือ วิชชุรูป ที่หมุนรอบ มูลรูปด้วยกำลังแห่งอวิชชา




๓๖ ปรมาณู เป็น ๑ อณู
๓๖ อณูเหล่านั้น เป็น ๑ ตัชชารี
๓๖ ตัชชารีเหล่านั้น เป็น ๑ รถเรณู
๓๖ รถเรณูเหล่านั้น เป็น ๑ ลิกขา
๗ ลิกขา เป็น ๑ อูกา
๗ อูกาเหล่านั้น เรียกว่า ธัญญามาส


คาถาจาปลินิคัณฑุ (อภิธานนัปปทีปิกา) คาถาที่ ๑๙๔ และคาถาที่ ๑๙๕ ในภูมิกัณฑ์ว่า

ฉตฺตึส ปรมาณูน เมโก ณุจ ฉตึ เต ตชฺชรี ตาปี ฉตฺตึส รถเรณูจฺ ฉตึส เต ลิกฺขา ตา สตฺต อูกา ตา ธญฺญมาโสติ สตฺเต ข้อความบางตอนจากอรรถกถาวิภังคปกรณ์มีกล่าวถึงเรื่องนี้ดังนี้

พระอภิธรรมปิฎก วิภังค์ เล่ม ๒ ภาค ๒ - หน้าที่ 377

ในเถรวาทแห่งอันเตวาสิกของท่าน กล่าวว่า การเปิดเผยโดยการ

ออกด้วยสติ ชื่อว่า การรื้อถอนออก เพราะความเป็นผู้ต้องอาบัติ. สำหรับใน

ที่นี้ ภิกษุเห็นปานนี้ ชื่อว่า ย่อมเห็นโทษทั้งหลายมีประมาณน้อย โดยความ

เป็นโทษ โดยความเป็นภัย. เพื่อแสดงซึ่งโทษมีประมาณน้อย โดยความเป็น

โทษ โดยความเป็นภัยนั้น ท่านกล่าวมาตรา (ประมาณ) ดังนี้.


บรรดาชื่อเหล่านั้น ชื่อว่า ปรมาณู เป็นส่วนแห่งอากาศ

(อนุภาคที่เล็กที่สุดซึ่งเห็นด้วยตาเนื้อไม่ได้ เห็นได้ด้วยทิพยจักษุ) ไม่มาสู่คลอง

แห่งตาเนื้อ ย่อมมาสู่คลองแห่งทิพยจักษุเท่านั้น. ชื่อว่า อณู คือรัศมีแห่ง

พระอาทิตย์ที่ส่องเข้าไปตามช่องฝา ช่องลูกดาล เป็นวงกลม ๆ ด้วยดี ปรากฏ

หมุนไปอยู่. ชื่อว่า ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น) เพราะเจาะที่ทางโค ทาง

มนุษย์ และทางล้อแล้วปรากฏพุ่งไปเกาะที่ข้างทั้งสอง. ชื่อว่า รถเรณู (ละออง

รถ) ย่อมติดอยู่ที่รถนั้น ๆ นั่นแหละ. ชื่อว่า ลิกขา (ไข่เหา) เป็นต้น

ปรากฏชัดแล้วทั้งนั้น.

ก็ในคำเหล่านั้น พึงทราบประมาณดังนี้

๓๖ ปรมาณู ประมาณ ๑ อณู

๓๖ อณู " ๑ ตัชชารี (สิ่งที่เกิดจากอณูนั้น)

๓๖ ตัชชารี " ๑ รถเรณู (ละอองรถ)

๓๖ รถเรณู " ๑ ลิกขา (ไข่เหา)

๗ ลิกขา " ๑ โอกา (ตัวเหา)

๗ โอกา " ๑ ธัญญมาส (เมล็ดข้าวเปลือก)

๗ ธัญญมาส " ๑ อังคุละ (นิ้ว)

๑๒ อังคุละ " ๑ วิทัตถิ (คืบ)

๑๒ วิทัตถิ " ๑ รัตนะ (ศอก)

๗ รตนะ " ๑ ยัฏฐิ (หลักเสา)

๒๐ ยัฏฐิ " ๑ อุสภะ (ชื่อโคจ่าฝูง)

๘๐ อุสภะ " ๑ คาวุต

๔ คาวุต " ๑ โยชน์

๑๐,๐๖๘ โยชน์ " ๑ ภูเขาสิเนรุราช.

วันพุธที่ 13 มิถุนายน พ.ศ. 2555

ประวัติ พระใส พระสุก พระเสริม








หลวงพ่อพระใส วัดโพธิ์ชัย จ.หนองคาย เป็นพระพุทธรูปสำคัญคู่เมือง ประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย ซึ่งมีฐานะเป็นวัดอารามหลวง


ตั้งอยู่ที่ถนนโพธิ์ชัย ในเขตเทศบาลเมือง ห่างจากตัวเมืองหนองคายไปประมาณ 2 กิโลเมตร ตามทาง หลวงหมายเลข 212 ทางไป อ.โพนพิสัย วัดจะอยู่ทางซ้ายมือ เป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบ ปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสีสุก หน้าตักกว้าง 2 คืบ 8 นิ้ว ส่วนสูงจากพระชงฆ์เบื้อล่างถึงยอดพระเกศ ๔ คืบ ๑ นิ้วของช่างไม้

ประวัติการสร้าง

สมเด็จกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงสันนิษฐานไว้ในหนังสือประวัติพระพุทธรูปสำคัญ ซึ่งพิมพ์แจกในงานทอดกฐินพระราชทาน พ.ศ. 2468 ว่า หลวงพ่อพระใส เป็นพระพุทธรูปหล่อในสมัยล้านช้าง และตามตำนานที่เล่าสืบต่อกันมาว่า พระธิดา 3 องค์ แห่งกษัตริย์ล้านช้างเป็นผู้สร้าง บางท่านก็ว่าเป็นพระราชธิดาของพระไชยเชษฐาธิราช ได้หล่อพระพุทธรูปขึ้น 3 องค์ และขนานนาม พระพุทธรูปตามนามของตนเองไว้ด้วยว่า พระเสริมประจำพี่ใหญ่ พระสุกประจำคนกลาง พระใสประจำน้องสุดท้องมีขนาดลดหลั่นกันตามลำดับ

การประดิษฐาน

เดิมทีนั้นหลวงพ่อพระใสได้ประดิษฐาน ณ เมืองเวียงจันทน์ พ.ศ. ๒๓๒๑ สมัยกรุงธนบุรีได้อัญเชิญไปไว้ที่เมืองเวียงคำ และถูกเชิญมาประดิษฐานไว้ที่วัดโพนชัย เมืองเวียงจันทน์อีก ต่อมาในรัชกาลที่ ๓ เจ้าอนุวงศ์ เมืองเวียงจันทน์เป็นกบฎ สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิ์พลเสพย์ เป็นจอมทัพยกพลมาปราบ จึงได้อัญเชิญพระสุก พระเสริม และพระใส ลงมาด้วย โดยอัญเชิญมาจากภูเขาควายขึ้นประดิษฐานบนแพไม้ไผ่ ซึ่งผูกติดกันอย่างมั่นคงล่องมาตามลำน้ำงึม เมื่อล่องมาถึงตรงบ้านเวินแท่นในขณะนั้น เกิดอัศจรรย์แท่นของพระสุกได้เกิดแหกแพจมลงไปในน้ำ โดยเหตุที่มีพายุพัดแรงจัด และบริเวณนั้นได้นามว่า "เวินแท่น"

การล่องแพก็ยังล่องมาตามลำดับจนถึงน้ำโขง (ปากน้ำงึม) เฉียงกับบ้านหนองกุ้ง อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย ได้เกิดพายุใหญ่ เสียงฟ้าคำรามคะนองร้องลั่น ในที่สุดพระสุกได้แหกแพจมลงไปในน้ำ ซึ่งอาการวิปริตต่างๆ ก็ได้หายไปเป็นอัศจรรย์ยิ่ง บริเวณนั้นจึงได้ชื่อว่า "เวินสุก" และพระสุกก็จมอยู่ในน้ำตรงนั้นมาจนถึงปัจจุบันนี้

ก็ยังเหลือแต่พระเสริม พระใส ที่ได้นำขึ้นมาถึงเมืองหนองคาย พระเสริมนั้นได้ถูกอัญเชิญประดิษฐานไว้ ณ วัดโพธิ์ชัย ส่วนพระใส ได้อัญเชิญประดิษฐานไว้ ณ วัดหอก่อง (ปัจจุบันคือวัดประดิษฐ์ธรรมคุณ)

ต่อมาในสมัยรัชกาลที่ ๔ สมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุนวรธานีและเจ้าเหม็น (ข้าหลวง) อัญเชิญพระเสริม จากวัดโพธิ์ชัย หนองคายไปกรุงเทพฯและอัญเชิญพระใสจากวัดหอก่องขึ้นประดิษฐานบนเกวียนจะอัญเชิญลงไปกรุงเทพฯ ด้วย แต่พอมาถึงวัดโพธื์ชัย หลวงพ่อพระใสได้แสดงปาฏิหาริย์จนเกวียนหักจึงอัญเชิญลงไปไม่ได้ ได้แต่พระเสริมลงกรุงเทพฯ ประดิษฐาน ณ วัดปทุมวนาราม ส่วนหลวงพ่อพระใสได้อัญเชิญประดิษฐาน ณ วัดโพธิ์ชัย อ.เมืองหนองคาย จนถึงปัจจุบัน ความอัศจรรย์ของหลวงพ่อพระใสจนได้สมญาว่า "หลวงพ่อเกวียนหัก"

ประวัติ หลวงพ่อพระใส(พระคู่บ้านคู่เมืองหนองคาย)

นี่เป็นเพียงประวัติเท่านั้น หากท่านมีโอกาส ก็มานมัสการหลวงพ่อพระใสได้ที่วัดโพธิ์ชัยพระอารามหลวง

ประวัติหลวงพ่อพระใส

หลวงพ่อพระใส เป็นพระพุทธรูปขัดสมาธิราบปางมารวิชัย หล่อด้วยทองสีสุก มีพระรูปลักษณะงดงามมาก ขนาดหน้าตักกว้าง ๒ คืบ ๘ นิ้ว ส่วนสูงจาก พระชงฆ์เบื้อง ล่างถึงยอดพระเกศ ๔ คืบ ๑ นิ้ว ปัจจุบันนี้ประดิษฐานอยู่ภายในพระอุโบสถวัดโพธิ์ชัยอำเภอเมืองหนองคาย

การหล่อ ประวัติเกี่ยวกับการหล่อ ตามความสันนิษฐานเข้าใจว่าหล่อในสมัยเชียงแสนช่วงหลังๆ จะหล่อที่ไหน เมื่อไรนั้นไม่ปรากฏแน่ชัด แต่เชื่อแน่ว่าไม่ใช่หล่อที่เมือง เชียงแสนดังที่บางท่านเข้าใจ ทั้งนี้เพราะมีคำที่รับรองกันได้โดยมากว่าเป็นพระพุทธรูปลานช้าง ซึ่งสมัยนั้น(สมัยเชียงแสน) ประเทศลานช้างยังเป็นประเทศที่รุ่งเรืองอยู่ และพระพุทธศาสนาก็กำลังเจริญรุ่งเรือง พระเจ้าแผ่นดินก็ทรงฝักใฝ่พระทัยในพระพุทธศาสนาเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะการหล่อพระพุทธรูปยิ่งสนพระทัยเป็นพิเศษ

อนึ่ง พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดำรงราชานุภาพได้ลงความเห็นไว้ในหนังสือตำนานพุทธเจดีย์สยาม หน้า ๑๐๒ ว่า “ พระพุทธรูปลานช้างที่งามยิ่งกว่าองค์อื่นคือ “พระเสริม” อยู่ในพระวิหารวัดประทุมวัน” นี้แสดงให้เห็นว่า พระใสต้องเป็นพระพุทธรูปที่หล่อในประเทศลานช้างแน่เพราะพระพุทธรูป ๓ องค์คือ พระสุก พระเสริม พระใส หล่อในคราวเดียวกันและเคียงคู่กันมาเสมอเท่าที่กล่าวมานี้ ก็เพื่อจะให้เป็นเหตุสนับสนุนทางที่จะเล่าทางหนึ่งว่า หลวงพ่อพระใสหล่อที่ประเทศลานช้าง โดย มีธิดา ๓ พระองค์แห่งกษัตริย์ลานช้างเป็นเจ้าศรัทธา ทั้งหมดเป็นพี่น้องร่วมพระวงศ์เดียวกัน (บางท่านว่าเป็นธิดาของพระไชยเชฏฐาธิราช) มีพระนามตามลำดับว่า สุก เสริม ใส มีพระทัยร่วมกันเป็นเอกฉันท์ในอันที่จะหล่อพระพุทธรูปประจำองค์ จึงได้พร้อมกันขอพรจากพระบิดาพระบิดาประทานพรให้ จึงให้ช่างหล่อพระพุทธรูปขึ้น ๓ องค์ ขนาดลดกันตามลำดับ ครั้นแล้วจึงขนานนามพระพุทธรูปเหล่านั้นโดยขอฝากพระนามของตนเองไว้ด้วยว่า พระสุก (ประจำผู้พี่ใหญ่) พระเสริม(ประจำคนกลาง) พระใส (ประจำคนเล็ก)

ในการทำพิธีหล่อนั้นทั้งทางบ้านและทางวัดได้ช่วยกันเป็นการใหญ่โต มีคนทำการสูบเตาหลอมทองอยู่ไม่ขาดระยะ นับเป็นเป็นเวลา ๗ วันแล้วทองก็ยังไม่ละลาย ถึงวันที่ ๘ เวลาเพล (๑๑.๐๐น) เหลือพระภิกษุแก่ กับเณรน้อยรูปหนึ่งทำการสูบเตาอยู่ ในขณะนั้นได้ปรากฎมีชีปะขาวตนหนึ่งมายังที่นั้นและขอทำการสูบเตาช่วยซึ่งพระภิกษุและสามเณรน้อยนั้นก็มิได้ขัดข้อง เมื่อชีปะขาวทำการสูบเตาแทนแล้ว พระภิกษุและสามเณรก็ได้ขึ้นไปฉันเพลบนศาลาตามปกติธรรมดาทุกวัน เมื่อพระกำลังฉันเพลอยู่ญาติโยมที่มาส่ง เพลย่อมลงมาทำการสูบแทนเสมอ แต่วันนั้นญาติโยมแลเห็นคนสูบเตามากกว่าปกติท่อเตาก็มีมาก แต่ละคนเป็นชีปะขาวเหมือนกันหมด ด้วยความอัศจรรย์ใจยิ่งจึงได้ถามพระ ภิกษุ แต่พระภิกษุแลไปก็เห็นเพียงชีปะขาวรูปเดียวเท่านั้น พอฉันเพลเสร็จ คนทั้งหมดก็พากันลงมาดู ครั้นถึงก็เกิดความอัศจรรย์ใจยิ่ง เพราะเหตุที่ได้เห็นทองทั้งหมดถูกเทลงในเบ้าทั้ง ๓ เบ้าโดยเรียบร้อยแล้ว และไม่ปรากฏเห็นชีปะขาวนั้นเลยสักคนเดียว

ที่ประดิษฐานพระสุก พระเสริม พระใส คราวแรกประดิษฐานอยู่ ณ เมืองเวียงจันทร์ นานเท่าไรไม่ปรากฏ ครั้นพ.ศ ๒๓๒๑ เมื่อรัชกาลพระเจ้ากรุงธนบุรี ได้เกิดสงคราม ขึ้นระหว่างกรุงธนบุรีกับกรุงศรีสัตนาคนหุต(เวียงจันทร์) ครั้นนั้นพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกเสด็จดำรงพระยศเป็นสมเด็จเจ้าพระยามหากษัตริย์ศึก ได้เป็นจอมพลยกทัพมาตีเวียงจันทร์ เมืองเวียงจันทร์จึงเกิดยุคเข็ญขึ้น พระเจ้าธรรมเทวงศ์จึงได้อันเชิญไปไว้ที่เมืองเชียงคำ ครั้นต่อมาด้วยเหตุใดไม่ทราบได้ พระใสจึงถูกอัญเชิญมาประดิษฐานไว้ที่วัด โพนชัย เมือง เวียงจันทร์อีก

ต่อมารัชการที่ ๓ แห่งจักรีวงศ์ปรากฏว่าที่เมืองเวียงจันทร์ (เจ้าอนุฯ ) เกิดเป็นขบถ พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้า เจ้าอยู่หัว ได้โปรดให้ทำลายเมืองเวียงจันทน์เสีย พระบวรราชเจ้ามหาศักดิ์พลเสพย์ได้เป็นจอมทัพยกพลมาปราบ เมื่อเมืองเวียงจันทน์ สงบดีแล้ว จึงได้อัญเชิญพระสุก พระเสริม พระใส มาประดิษฐาน ณ ที่วัดโพธิ์ชัยเมืองหนองคาย

ในตอนที่อัญเชิญพระใสจากเวียงจันทน์ มาประดิษฐานที่วัดโพธิ์ชัยเมืองหนองคายนี้ คราวอัญเชิญมาไม่ได้อัญเชิญมาจากเมืองเวียงจันทน์โดยตรงแต่ได้อัญเชิญมา จากถูเขาควายซึ่งชางเมืองได้อัญเชิญไปซ่อนไว้แต่ครั้งเวียงจันทน์เกิดสงคราม การอัญเชิญมาได้อัญเชิญขึ้นประดิษฐานบนแพไม้ไผ่ซึ่งอัญเชิญมาทั้ง ๓ องค์ ล่องมาตามลำแม่น้ำโขงเมื่อถึงตรงบ้านเวินแท่นที่นั้นได้เกิดอัศจรรย์คือ แท่นของพระสุกได้แหกแพจมลงในน้ำโดยเหตุที่มีพายุแรงจัดพัดแพจนเอนเอียงแพไม่สามารถรับน้ำหนักของพระแท่นไว้ได้ อาศัยเหตุที่แท่นของพระสุกได้จมลง ณ ที่ตรงนั้นจึงได้ชื่อว่า “เวินแท่น” มาจนบัดนี้

ครั้นเสียแท่นพระสุกแล้วก็ยังอัญเชิญล่องมาตามลำน้ำโขง (น้ำงึ่ม) เฉียงกับบ้านหนองกุ้ง อ.โพนพิสัย จ.หนองคาย เล็กน้อย พอถึงที่นั้นได้บังเกิดพายุใหญ่เสียงฟ้าคะนองร้องลั่น จนในที่สุดพระสุกได้แหกแพจมลงในน้ำ พอพระสุกจมลงในน้ำแล้วอาการวิปริตต่างๆ ก็สงบเงียบอาศัยเหตุนี้ ที่นั้นจึงได้นามว่า “เวินสุก” (จนบัดนี้พระสุกยังจมอยู่ในน้ำโขงตรงนั้นตราบเท่าทุกวันนี้ ) เมื่อเป็นเช่นนี้ยังคงเหลืออยู่แต่พระเสริมกับพระใส ที่ได้นำเข้ามาถึงเมืองหนองคาย พระเสริมได้อัญเชิญประดิษฐานไว้ ณ วัดโพธิ์ชัยส่วนพระใสได้ประดิษฐานไว้ ณ วัดประดิษฐ์ธรรมคุณ (วัดหอก่อง) ต่อมาในรัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จฯ พระจอมกล้าเจ้าอยู่หัวจึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุนวรธานีและข้าหลวงอัญเชิญ พระเสริม จากวัดโพธิ์ชัยลงไปกรุงเทพฯ ขุนวรธานีเมื่อมาถึงหนองคาย ได้ทราบว่าพระใสเป็นคู่กับพระเสริมจึงได้อัญเชิญจากวัดหอก่องขึ้นสู่เกวียน นัยว่า จะอัญเชิญไป กรุงเทพฯ กับพระเสริม แต่พอมาถึง ณ วัดโพธิ์ชัย พระใสได้แสดงปาฏิหาริย์ไม่สามารถขับเกวียนซึ่งประดิษฐานหลวงพ่อพระใสให้เคลื่อนที่ไปได้ แม้ใช้เครื่องฉุดก็ไม่สามารถเช่นเดียวกัน ได้ทำการอ้อนวอนด้วยประการต่างๆ ก็ไม่เป็นผล จนในที่สุดเกวียนไดหักลง คราวนี้ได้หาเกวียนใหม่มาเป็นที่ประดิษฐาน แต่ก็อัศจรรย์อีกเพราะเกวียนไม่สามา รถจะเคลื่อนที่ได้ เมื่อเป็นเช่นนั้นจึงปรึกษากันว่าจะอัญเชิญหลวงพ่อพระใสประดิษฐานไว้ที่วัดโพธิ์ชัยแล้วก็ทำการอธิษฐานเป็นผลดังใจนึกพอเข้าหามไม่กี่คนเท่านั้นองค์หลวงพ่อพระใส ก็ถูกยกขึ้นประดิษฐานไว้ในอุโบสถวัดโพธ์ชัยได้โดยง่ายให้พวกเราได้เคารพสักการะเป็นการกุศล ส่วนพระเสริมนั้นได้อัญเชิญลงไปกรุงเทพฯ ประดิษฐานอยู่วัดปทุมวนารามจนถึงทุกวันนี้

ส่วนพระสุกซึ่งจมน้ำอยู่ที่เวินสุกนั้นได้ทราบว่า เมื่อหลายสิบปีก่อนทางฝ่ายบ้านเมืองที่จังหวัดหนองคาย ได้ทำการปรารภจะอันเชิญขึ้นจากน้ำ เพื่อจะได้นำมาประดิษฐานไว้คู่เคียงกับพระใส แต่ก็ไม่เป็นผลสำเร็จเพราะมีเหตุขัดข้องบางประการที่ได้ทราบมา คือ อาศัยความที่ พระสุกได้จมอยู่ในน้ำเป็นเวลาช้านานทำให้ดินทับทมไม่สะดวกในการที่จะอันเชิญได้โดยง่าย อีกอย่างหนึ่งเป็นเพราะชาวบ้านแถวนั้นไม่ยินยอมให้นำขึ้นเพราะเกรงกลัวต่อภยันตรายอันจะพึงมีมา ทั้งนี้ เนื่องด้วยประชาชนในถิ่นนั้น (รวมทั้งถิ่นอีสานส่วนมากด้วย) ถือว่า การกระทำเช่นนี้ย่อมให้เจ้าภูมิท้องถิ่น เกิดความไม่พอใจแล้วอาจบันดาลให้มีเหตุเภทภัยนานาประการ

หลวงพ่อพระเสริม

พระเสริม เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย ศิลปะล้านช้าง หน้าตักกว้าง 2 ศอก 1 นิ้ว สร้างขึ้นพร้อมกับพระสุก พระใส พระเสริม วัดปทุมวนาราม เป็นพระพุทธรูปปางมารวิชัย พระเสริมเป็นพระพุทธรูปประจำพระธิดาองค์พี่ "พระเสริม"ถือเป็นพระพุทธรูป 3 พี่น้องแห่งกรุงศรีสัตนา คนหุต

ถือเป็นพระพุทธรูป 3 พี่น้องแห่งกรุงศรีสัตนา คนหุต หล่อขึ้นจากทองสีสุก (โลหะสำริดที่มีทองคำเป็นส่วนผสมหลัก) เมื่อราวปี พ.ศ.2109 โดยพระเจ้าไชยเชษฐาธิราช กษัตริย์ล้านช้าง พร้อมด้วยพระธิดา 3 พระองค์ ทรงพระนามว่า พระธิดาเสริม พระธิดาสุก และพระธิดาใส โปรดให้ช่างลาวล้านช้างหล่อพระพุทธรูปประจำพระองค์ เพื่อความเป็นสิริมงคลมีขนาดลดหลั่นกันตามลำดับ

ในพิธีการหล่อพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ พระภิกษุและฆราวาสช่วยกันสูบเตาหลอมทองอยู่ตลอดถึง 7 วัน แต่ทองยังไม่ละลาย พอถึงวันที่ 8 มีเพียงพระภิกษุสูงอายุรูปหนึ่งกับสามเณรรูปหนึ่งสูบเตาอยู่ ปรากฏมีชีปะขาวคนหนึ่งมาอาสาสูบเตาแทนพระและเณร

แต่วันนั้น ญาติโยมต่างเห็นบรรดาชีปะขาวสูบเตาอยู่เป็นจำนวนมาก เมื่อพระภิกษุและสามเณรฉันเพลเสร็จแล้วก็จะไปสูบเตาต่อ ปรากฏว่าได้มีผู้เททองลงเบ้าทั้ง 3 จนเรียบร้อยแล้ว แต่ไม่เห็นชีปะขาวอยู่แม้แต่คนเดียว การหล่อพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์ สำเร็จลงด้วยดีอย่างน่าอัศจรรย์

พระธิดาเสริม สุก และใส ต่างถวายนามของตนเป็นนามของพระพุทธรูป ได้แก่ พระเสริมเป็นพระพุทธรูปประจำพระธิดาองค์พี่ พระสุกเป็นพระพุทธรูปประจำพระธิดาองค์กลาง และพระใสเป็นพระพุทธรูปประจำพระธิดาองค์สุดท้อง

สมเด็จกรมพระยาดำรง ราชานุภาพ ทรงลงความเห็นเกี่ยวกับพระพุทธรูปทั้ง 3 องค์นี้ว่า พระเสริม พระสุก พระใส เป็นพระพุทธรูปลาวล้านช้างที่งดงามยิ่งกว่าพระพุทธรูปองค์อื่นๆ และทรงสันนิษฐานเรื่องการสร้างเป็น 2 ประการ คือ อาจจะเป็นพระพุทธรูปที่สร้างจากเมืองหนึ่งเมืองใดทางตะวันออกของอาณาจักร ล้านช้างและต่อมาตกอยู่ในเขตล้านช้าง หรืออาจสร้างขึ้นในเขตล้านช้างโดยฝีมือช่างลาวพุงขาวในยุคนั้น

ในรัช สมัยพระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 3 ครั้งเจ้าอนุวงศ์ เจ้าผู้ครองอาณาจักรล้านช้างก่อกบฏ พระองค์ทรงโปรดให้สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหาศักดิพลเสพเป็นแม่ทัพยกทัพไปปราบ และได้ตั้งค่ายทหารที่เมืองพานพร้าว

ทหารไทยเข้าตีเมืองเวียงจันทน์ จนเจ้าอนุวงศ์หนีไปจากเวียงจันทน์ ในครั้งนั้นได้อัญเชิญพระพุทธรูปที่มีชื่อเสียงโด่งดังมาจากเมืองเวียงจันทน์ หลายองค์ ได้แก่ พระแซกคำ พระฉันสมอ พระเสริม พระสุก พระใส พระแก่นจันทน์ พระเงินหล่อ พระเงินบุ พระสรงน้ำ มาเก็บรักษาไว้ที่เมืองพานพร้าว และได้มีการสร้างพระเจดีย์เพื่อประดิษฐานจารึกพระนาม พระเจดีย์ปราบเวียง ต่อมาเจ้าอนุวงศ์ได้ร่วมกับพวกญวนเข้ายึดเมืองเวียงจันทน์คืนและตีค่ายพานพ ร้าว ทหารฝ่ายเจ้าอนุวงศ์ได้รื้อพระเจดีย์ปราบเวียง และนำพระพุทธรูปที่บรรจุอยู่ทั้งหมดกลับเวียงจันทน์

ในที่สุด ทหารไทยเข้ายึดค่ายพานพร้าวคืนและตีเมืองเวียงจันทน์ ทำลายเมืองเวียงจันทน์ กำแพงเมือง ป้อมเมือง และหอคำ จนกลายเป็นทะเลเพลิง เหลือไว้แต่วัดสีสะเกด รวมทั้งสถานที่ศักดิ์สิทธิ์ประจำเมืองบางแห่ง และได้มีการนำพระพุทธรูปจำนวนหนึ่งข้ามกลับมาฝั่งไทย

ส่วนการ อัญเชิญพระเสริม พระสุก พระใส จากเมืองเวียงจันทน์ มีเรื่องเล่าเป็นตำนานต่อกันมาว่าพบพระพุทธรูปในถ้ำแห่งหนึ่งบนภูเขาควาย เนื่องจากชาวเมืองได้นำไปซ่อนไว้เพื่อหนีภัยสงคราม จึงนำขึ้นประดิษฐานบนแพไม้ไผ่อัญเชิญมาทางลำน้ำงึมออกลำน้ำโขง

เมื่อ ถึงบริเวณปากน้ำงึมเฉียงกับบ้านหนองกุ้งเมืองหนองคาย (ปัจจุบันอยู่ในเขตอำเภอโพนพิสัย) เกิดพายุฝนตกหนักแพที่ประดิษฐานพระสุกแตก ส่งผลให้พระสุกจมหายไปในกระแสน้ำ ส่วนพระเสริมและพระใสได้อัญเชิญมาถึงเมืองหนองคายอย่างปลอดภัย

พระเสริมนั้นประดิษฐานอยู่ที่วัดโพธิ์ชัย ส่วนพระใสประดิษฐานอยู่ที่วัดหอก่อง (วัดประดิษฐ์ธรรมคุณ)

ต่อมา ในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว พระอุปราชแห่งกรุงรัตนโกสินทร์สมัยนั้น พระองค์ทรงมีพระราชประสงค์ที่จะอัญเชิญพระเสริมมาประดิษฐานยังพระบวรราชวัง

พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดเกล้าฯ ให้ขุนวรธานีและข้าหลวง (เหม็น) ไปอัญเชิญพระเสริมและพระใสมายังพระนคร

เมื่อ ครั้งอัญเชิญพระเสริมและพระใสมายังพระนครนั้น กล่าวกันว่าพระใสแสดงปาฏิหาริย์ เกวียนที่ประดิษฐานพระใสหักลงตรงหน้าวัดโพธิ์ชัย ซ่อมก็หักอีก วัวลากเกวียนไม่ยอมเดิน ทั้งเชิญและบวงสรวงก็ไม่เป็นผล สุดท้ายทหารจึงอัญเชิญพระใสประดิษฐานที่วัดโพธิ์ชัยแทน

ส่วนพระเสริม อัญเชิญไปกรุงรัตนโกสินทร์ เมื่อครั้งที่มีการแห่พระเสริมจากหนองคาย เข้าเขตพระนครในยุคนั้น ชาวลาวล้านช้างที่ถูกต้อนมาอยู่ในกรุงรัตนโกสินทร์ต่างได้ทำริ้วขบวนแห่ต้อนรับ จัดทำพานบายศรีและเครื่องบูชาเพื่อบูชาพระเสริม

ต่อมา เมื่อพระบาทสมเด็จพระปิ่นเกล้าเจ้าอยู่หัว เสด็จสวรรคตในปี พ.ศ.2408 พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว จึงโปรดให้อัญเชิญพระเสริมจากพระบวรราชวัง ไปประดิษฐานยังพระวิหารวัดปทุมวนาราม ตราบจนถึงทุกวันนี้

วันศุกร์ที่ 8 มิถุนายน พ.ศ. 2555

กฏแห่งเวรกรรม โดย หลวงปู่สาวกโลกอุดร









ขอบคุณที่มา:LD2541

โสกะสามเณร โดย สาวกโลกอุดร









ขอบคุณที่มา:LD2541

ประวัติหลวงปู่สาวกโลกอุดร








ประวัติ หลวงปู่สาวกโลกอุดร ธมฺมปาโล 

หลวงปู่ เกิดเมื่อวันเสาร์ขึ้น ๓ ค่ำ เดือน ๓ ปีเถาะ พ.ศ. ๒๔๘๒ ที่บ้านสงเปลือยหมุ่ ๗ ต.หลุบ อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ บิดาชื่อ สมบูรณ์ มารดาชื่อ ที นามสกุล ดลอารมณ์ อุปสมบท ณ พัทธสีมาวัดชัยสุนทร อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ โดยพระครูโสภณสุตกิจ เจ้าคณะอำเภอเมืองเป็นอุปัชฌาย์ พระทองอินทร์ โกวิโท เป็นกรรมวาจาจารย์ พระระมัดศักดิ์ สิริธโร เป็นอนุสาวราจารย์ 
บวชได้ ๒ วันก็ไปเข้าวิปัสสนากับอาจารย์มหาพิมพ์หรือพระครูคลคณารักษ์ ที่วัดบ้านหนองริวหนัง ต.โคกเครือ อ.หนองกุงศรี จ.กาฬสินธุ์ ออกจากวัดหนองริวหนังก็ออกเดินธุดงค์ไปทางภาคเหนือ เดินธุดงค์เรื่อยไปจนถึง จ.จันทบุรี ได้ไปปฏิบัติธรรมอยู่ที่ป่าลึกสำนักสงฆ์เขาช่องลม ต.สองพี่น้อง อ.ท่าใหม่ จ.จันทบุรี ออกจากเขาช่องลมแล้วก็ไปจำพรรษาอยู่ที่วัดอ่างหิน อยู่ในตัวเมืองจันทบุรี แล้วออกเดินธุดงค์ไปจำพรรษา อยู่ที่สำนักสงฆ์ที่บ้านนาเบี้ย ต.นาทอ อ.ด่านซ้าย จ.เลย เป็นเวลา ๕ ปี (พ.ศ. ๒๕๒๙ – ๒๕๓๔ ) ณ.ที่นี้ เมื่อคืนวันที่ ๒๖ เดือน พฤศจิกายน พ.ศ. ๒๕๓๑ ตรงกับแรม ๓ ค่ำ เดือน ๑๒ ปีมะโรง หลวงปู่ได้บรรลุธรรมในขณะที่มีอายุได้ ๔๙ ปี 

หลังจากนั้นได้จาริกเผยแผ่ธรรมไปตามสถานที่ต่าง ๆ ตามแต่จะมีผู้อาราธนานิมนต์ เช่น ในงานเข้าปริวาสกรรม และงานปฏิบัติธรรมตามที่ต่าง ๆ 

ต่อมาพ.ศ. ๒๕๓๕ ได้กลับมาโปรดโยมที่วัดชัยสุนทร อ.เมือง จ.กาฬสินธุ์ พ.ศ. ๒๕๓๖ จำพรรษาที่วัดบ่อสร้างพระอินทร์ อ.นาแก จ.นครพนม โดยการอาราธนานิมนต์พระมหาเชื้อ 

พ.ศ. ๒๕๓๗ จำพรรษาที่วัดป่าศรีรัตนพุทธาราม ต.โคกหินแฮ่ อ.เรณูนคร จ.นครพนม ซึ่งที่นี้ เมื่อวันที่ ๒๗ กุมภาพันธ์ – ๗ มีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๗ หลวงปู่ได้เป็นประธานจัดงานปริวาสกรรมเป็นครั้งแรก และครั้งที่ส่องที่วัดป่าอุทุมพร บ้านนามท่า อ.เรณูนคร จ.นครพนม ในวันที่ ๒๕ พฤษภาคม - ๓ มิถุนายน ในปีเดียวกัน และครั้งที่สามที่ บ้านโคกม่วง อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู โดยมีหลวงพ่อสุด พุทธญาโณ เจ้าอาวาสวัดเขาทองนพคุณ อาราธนานิมนต์ 

พ.ศ. ๒๕๓๘ – ๒๕๔๐ จำพรรษาที่วัดเขาทองนพคุณ (ภูเก้า) บ้านตาดไฮ ต.โคกม่วง อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู ในระหว่างนี้หลวงปู่ได้เป็นประธานจัดงานปริวาสกรรม ดังนี้ 

- เดือนมีนาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ที่วัดประตูทรงธรรม อ.วาปีปทุม จ.มหาสารคาม 

- วันที่ ๑๙ – ๒๘ พฤษภาคม พ.ศ. ๒๕๓๘ ที่สะโทยธรรมสถาน ต.วังสรรพรส อ.ขลุง จ.จันทบุรี 

- วันที่ ๑๖ พฤษภาคม ปีนี้หลวงปู่ได้แสดงธรรมที่อภิธรรมมูลนิธิวัดโพธิ์ ท่าเตียน (วัดพระเชตุพน) กรุงเทพมหานคร และในปี พ.ศ. ๒๕๓๙ 

ก่อนวันเข้าพรรษาหลวงปู่ได้ประกาศตนเป็น “พระอรหันต์” ท่ามกลางคณะสงฆ์อำเภอโนนสัง เมื่อวันที่ ๒๙ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๓๙ และเรียกองค์ท่านเองว่า “พระครูเทพโลกอุดรตัวจริง” 

- วันที่ ๙ – ๑๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๐ ที่ป่าช้าบ้านหนองจิก ต.หนองบัว อ.ศรีขรภูมิ จ.สุรินทร์ 

- พ.ศ. ๒๕๔๑ –๒๕๔๒ จำพรรษา ที่พักสงฆ์วัดเทพโลกอุดร บ้านซับกระทิงใต้ ต.หนองย่างเสือ อ.มวกเหล็ก จ.สระบุรี ในระหว่างนี้หลวงปู่ได้เป็นประธานจัดงานปริวาสกรรม ดังนี้ 

- วันที่ ๓๐ มกราคม – ๘ กุมภาพันธ์ พ.ศ. ๒๕๔๑ ที่ป่าช้าบ้านนาน้อย ต.เหล่าพัฒนา อ.นาหว้า จ.นครพนม วันที่ ๒๕ มีนาคม – ๓ เมษายน พ.ศ. ๒๕๔๓ ที่ป่าช้าบ้านนาน้อย ต.เหล่าพัฒนา อ.นาหว้า จ.นครพนม 

- พ.ศ. ๒๕๔๓ จำพรรษาที่วัดป่าโพธิ์ชัย บ้านหนองเปง ต.ฝั่งแดง อ.ธาตุพนม จ.นครพนม 

- พ.ศ. ๒๕๔๔ จำพรรษาที่สำนักสงฆ์บ้านหนองเรือ ม. ๑๐ ต.ท่าตะเกียบ อ.ท่าตะเกียบ จ.ฉะเชิงเทรา ที่นี้หลวงปู่ได้ดับขันธปรินิพพาน เมื่อเดือน ๒๖ ตุลาคม พ.ศ. ๒๕๔๔ สิริรวมอายุ ๖๒ ปี